>>>> อวัยวะที่ใช้ในการสัมผัสของคนเรามีหลายชนิด “ตา” ก็เป็นอวัยวะที่ใช้ในการสัมผัสรับรู้ด้วยการมองเห็นเท่านั้น แต่เราจะมีระบบที่ใช้ในการประมวลผลหลัก คือ “สมอง” ที่จะเป็นตัวบอกว่าสิ่งที่เห็นนั้นมันคืออะไร ตาและสมองจะทำงานสัมพันธ์กันเสมอ แต่จะมีบ้างที่เกิดอาการสับสน ทำให้สิ่งที่เห็นผิดไปจากความเป็นจริง ซึ่งบางครั้งปรากฏการณ์ที่ว่านี้ อาจไม่ได้ใช้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์มาอธิบายโดยตรง แต่เป็นเรื่องจริงของความรู้สึกและประสบการณ์ที่มีอยู่ในตัวของแต่ละคน
ตำแหน่งจุดบอดบนจอตาของเรา(blind spot)
รูปแบบที่สมองทำกับช่องว่างที่เกิดขึ้นในภาพบนจอตาที่ไม่สามารถอธิบายได้เรียกว่า การเติมเต็ม (filling in)
>>>> ขอกล่าวถึงการทำงานประสานกันระหว่างตาและสมองดังนี้ ตาและสมองทำงานประสานกันอย่างใกล้ชิดมาก โดยตาเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่รับภาพเข้ามา ส่วนสมองทำงหน้าที่ประมวลผล และวิเคราะห์ว่าภาพที่รับเข้ามานั้นเป็นภาพอะไร มีสีอะไร เป็นภาพเคลื่อนไหวหรือภาพนิ่ง เมื่องแสงจากวัตถุกระทบเลนส์ตา จะเกิดการหักเหและปรากฏเป็นภาพจริง
สาเหตุของการเกิดภาพลวงตา
1. เกิดจากความสามารถในการกวาดสายตาในแนวดิ่งและแนวราบไม่เท่ากัน
2. เกิดจากตาสองข้างส่งข้อมูลที่แตกต่างไปยังสมอง
3. เกิดจากการเติมสิ่งหนึ่งสิ่งใด ( เช่นภาพแรกที่จริงๆแล้วเป็นเส้นขนาน )
4. เกิดจากการเกิดมุมหรือตัดกันของเส้น
5. เกิดจากการเปรียบเทียบ หรือขนาดสัมพัทธ์ (Relative size )
6. เกิดจากสิ่งแวดล้อม
7. เกิดจากการมองเห็นภาพด้วยนัยน์ตาทั้งสองข้าง
8. เกิดจากเซลล์ประสาทมีขีดจำกัดในการรับรู้
9. เกิดจากสมบัติของแสง
นี่ก็สี่เหลี่ยมจัตุรัส
เห็นเด็กน้อยไหม
บ้านพิศวง?
วิทยาศาสตร์มีคำตอบ
นับได้กี่คน ?
จะทำให้จุดสีม่วงรอบๆหายไป
>>> บางคนต้องใช้เวลานานถึงจะมองเห็น หรืออาจจะต้องบอกวิธีการอยู่บ้าง แต่บางคนอาจจะมองไม่ออกเลย โดยเฉพาะเด็กเล็กๆ เพราะประสบการณ์เกี่ยวกับภาพในลักษณะนี้ยังน้อยอยู่ จึงทำให้เกิดเป็นภาพลวงตา
มึน
ตอบลบอาทิตย์(หมี)
โลก นี้ มัน มีอะไร
ตอบลบแปลกๆๆๆๆๆๆๆๆ มากมาย
จิงๆ นะ
ตาลาย
ตอบลบมากมาก
อ่านเรื่องนี้แล้วต้องพักตาไปสักพักเลยนะ
วิภารัตน์(แหม่ม)
ต้องติสเท่าน้นถึงจะเข้าใจ
ตอบลบ